James Thompson
แนวคิดและทฤษฎีการจัดการ
ทฤษฎีเชิงระบบ (systems
theory) (ปี 1960) เป็นวิธีการจัดการที่ผสมผสานหน้าที่ในการจัดการกิจกรรมการจัดการและการวางแผนเชิงกลยุทธ์เข้าด้วยกัน
โดยพิจารณาถึงสภาพแวดล้อมภายนอก
ทรรศนะที่อธิบายถึงผลกระทบจากสภาพแวดล้อมภายนอกที่มีต่อองค์การถูกเสนอโดย แดเนียล
แคทซ์ โรเบิร์ต คาห์น
(Robert Kahn) และเจมส์ ธอมป์สัน (James Thompson) นักทฤษฎีเหล่านี้มีมุมมองว่าองค์การเป็นระบบเปิด (open
system)ซึ่งถือเป็นระบบที่องค์การได้นำทรัพยากรจากสภาพแวดล้อมภายนอกมาแปรสภาพเป็นสินค้าและบริการ
เพื่อส่งกลับไปยังสภาพแวดล้อมในที่ซึ่งสินค้าและบริการได้ขายให้กับลูกค้า
นอกจากนั้นผู้นำทางทฤษฎีเชิงระบบเช่น ริชาร์ด จอร์นสัน (Richard Johnson)
ฟรีมอนด์ แคสท์ (Fremont Kast)และเจมส์
โรเซนซ์เวจ (James Rosenweig)
แนวคิดเกี่ยวกับองค์การของ James D.Thompson
<!--[if !supportLists]-->•
<!--[endif]-->องค์การเป็นระบบเปิดที่ทำงานในสภาพที่ ไม่แน่นอน
<!--[if !supportLists]-->•
<!--[endif]--> องค์การพยายามดำเนินงานโดยใช้ความมีเหตุผล
เพื่อเป็นการสร้างแน่นอนในการทำงาน
<!--[if !supportLists]-->•
<!--[endif]-->องค์การจะต้องคอยปรับตัวเพื่อให้ทำงานได้ดีที่สุดในสภาพแวดล้อมที่ไม่แน่นอน
องค์การจะจัดการกับความไม่แน่นอนโดยการแบ่งหน้าที่ออกเป็น
3 ส่วน คือ
- ส่วนเทคนิค
- ส่วนจัดการ
- ส่วนสถาบัน
รวบรวมโดย
นางสาวรุ่งลักษมี รอดขำ
DBA 04 มหาวิทยาลัยศรีปทุม
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น