ชื่อทฤษฎี่ :
กฎแห่งความเหมาะสมตามสถานการณ์ (Law of Situation)
หลักการและแนวคิด
เป็นทฤษฎีสมัยปัึจจุบัน
มีลักษณะของการวิเคราะห์องค์การในเชิงระบบ Follett
เป็นผู้ที่เกี่ยวข้องในทฤษฎีสมัยปัจจุบันระหว่างปี ค.ศ.1920-1930
ผลงานของเธอเป็นเรื่องเกี่ยวกับจิตวิทยาของความสัมพัธ์ในองค์การธุรกิจ
ที่รวมเอาความสนใจต่าง ๆ ในเรื่องของตัวบุคคลและองค์การ
เธอได้เสนอแนะว่าควรจะมีการทำงานต่าง ๆ
ให้สำเร็จด้วยการมีจิตใจที่จะร่วมมือประสานกัน
โดยเห็นว่าบุคคลทุกคนจะถูกนับว่าเป็นคน ๆ หนึ่ง เป็นส่วนหนึ่งของกลุ่ม
และเป็นส่วนหนึ่งของสังคมด้วย จะเห็นว่าการเสนอแนะของ Follett
สามารถที่จะทำให้บรรลุผลสำเร็จได้โดยไม่ต้องเสียผลประโยชน์ขององค์การไป สรุปได้ว่า
Follett ได้เสนอเป็นหลักการพื้นฐานในการจัดการไว้ 4 ประการ คือ
1.
ความสำคัญของการติดต่อสื่อสารในแนวราบ (Horizontal Communication)
2.
การเข้ามามีส่วนร่วมในกระบวนการบริหาร (Participative Managent)
3.
การตัดสินใจที่มีระบบ
4.
การบริหารที่มีระบบ
กฎการบริหารของ
Follett
1. กฎของสถานการณ์
(Law of situation) โดยทำให้หัวหน้า และลูกน้องเข้าใจในสภาพการทำงานที่เป็นอยู่
โดยไม่รู้สึกว่าตนถูกบังคับ
เนื่องจากการติดต่อสื่อสารและการเข้ามามีส่วนร่วมในการบรหาร
2. กฎของการรวมตัวกัน
(Law of Integration) โดยเห็นว่าเมื่อมีข้อโต้แย้งเกิดขึ้นในองค์การ
มีทางออกดังนี้
-
การครอบงำทางความคิด (Domination)
-
การบังคับให้อีกฝ่ายหนึ่งยอมรับ /ประนีประนอม (Compromising)
-
การรวมตัวกัน (Integration)
เครื่องมือนี้ใช้เพื่ออะไร
ด้านการประสานงานเพื่อความเข้าใจซึ่งกันและกันระหว่างคนง่านและฝ่ายจัดการ เพื่อ
1. กระตุ้นศักยภาพของแต่ละบุคคลบนพื้นฐานของความเป็นจริงและสถานการณ์
2. พิจารณาแนวคิดของแต่ละคนและพยายามทำความเข้าใจเขามากขึ้น
3. ผสมผสานแนวคิดต่างๆ ดังกล่าวเข้าด้วยกันและนำมาใช้เป็นจุดหมายรวมกัน (Common goal) (pittajarn.lpru.ac.th/~chitlada/ WEBPAGE/om/2.pdf)
ข้อดี:
1. เกิดแรงจูงใจในการทำงาน
2. เกิดความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ใหม่ๆ
3. แลกเปลี่ยนความรู้/ความคิดเห็น
4. ปรับปรุงและพัฒนางานให้ดีขึ้น
5. เกิดแนวทางแก้ไขปัญหาต่างๆ
ข้อเสีย :
1. ทำให้ความสัมพันธ์ของบุคคลในองค์กรดีขึ้นเกิดความตึงเครียดมากขึ้น
2. ขาดการประสานงาน/ความไม่สงบสุข
3. มีการก้าวร้าว กดขี่ และทำลายฝ่ายตรงข้าม
4. ฉวยโอกาสใช้ความขัดแย้งเป็นข้อเรียกร้อง
5. มุ่งเอาชนะมากกว่าจะมองผลกระทบ
6. นำไปสู่ความยุ่งเหยิง
7. ไม่มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
เครื่องมือนี้ใช้เพื่ออะไร
ด้านการประสานงานเพื่อความเข้าใจซึ่งกันและกันระหว่างคนง่านและฝ่ายจัดการ เพื่อ
1. กระตุ้นศักยภาพของแต่ละบุคคลบนพื้นฐานของความเป็นจริงและสถานการณ์
2. พิจารณาแนวคิดของแต่ละคนและพยายามทำความเข้าใจเขามากขึ้น
3. ผสมผสานแนวคิดต่างๆ ดังกล่าวเข้าด้วยกันและนำมาใช้เป็นจุดหมายรวมกัน (Common goal) (pittajarn.lpru.ac.th/~chitlada/ WEBPAGE/om/2.pdf)
Dynamics
Administration เป็นแนวคิดที่บรรยาย ให้ผู้บริหาร แก้ปัญหาความขัดแย้งในองค์การโดยการสร้างมนุษยสัมพันธ์ และพยายามให้นายทุนคิดถึงคนงานบ้าง
ไม่คิดแต่เรื่องเงินเพียงอย่างเดียวแนวคิดนี้ได้รับการสนับสนุนโดยเอลตัน เมโย (Elton
Mayo) และ เอฟ.เจ.โรธลิสเบอร์เกอร์ (F.J.Roethlisberger) แห่งมหาวิทยาลัยฮาร์วาด
ข้อดีและข้อเสียข้อดี:
1. เกิดแรงจูงใจในการทำงาน
2. เกิดความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ใหม่ๆ
3. แลกเปลี่ยนความรู้/ความคิดเห็น
4. ปรับปรุงและพัฒนางานให้ดีขึ้น
5. เกิดแนวทางแก้ไขปัญหาต่างๆ
ข้อเสีย :
1. ทำให้ความสัมพันธ์ของบุคคลในองค์กรดีขึ้นเกิดความตึงเครียดมากขึ้น
2. ขาดการประสานงาน/ความไม่สงบสุข
3. มีการก้าวร้าว กดขี่ และทำลายฝ่ายตรงข้าม
4. ฉวยโอกาสใช้ความขัดแย้งเป็นข้อเรียกร้อง
5. มุ่งเอาชนะมากกว่าจะมองผลกระทบ
6. นำไปสู่ความยุ่งเหยิง
7. ไม่มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
การนำไปใช้
สามารถนำเอาหลักทฤษฎีและแนวคิดของ Mary Parter Follett ไปใช้ในการทำงานร่วมกัน
โดยให้ความสำคัญกับปัจเจกบุคคลในอันที่จะบรรลุซึ่งวัตถุประสงค์ขององค์การ
กรณีศึกษา
บริษัท คอมแพค
คอมพิวเตอร์ ได้ประสบความสำเร็จในธุรกิจอุปกรณ์คอมพิวเตอร์
โดยมีความเข้าใจระบบการบริหารงานแบบมีส่วนร่วม และแผนการตลาดอย่างดี
ในขณะที่มีบริษัทคู่แข่ง เช่น ไอบีเอ็ม เฮลเลตต์ แพคคาร์ด, แพคการ์ดเบล
และแอปเปิ้ล ในปี 1993 บริษัท คอมแพค
ได้ปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมในการทำงาน
โดยให้พนักงานมีส่วนร่วมในการวิเคราะห์อุปสรรค และโอกาสจากสิ่งแวดล้อมภายนอก
และวิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อนภายในองค์การ มีการประเมินภาระหน้าที่ขององค์การ
ทรัพยากร และทักษะด้านต่างๆ ของบุคลากรทุกระดับ
เพื่อการตัดสินใจร่วมกันในการเตรียมแผนกลยุทธ์ที่ประสบความสำเร็จ
เรียบเรียงโดย
นางสาวรุ่งลักษมี รอดขำ
DBA 04 มหาวิทยาลัยศรีปทุม
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น